รายงานการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาความพึงพอใจในการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
เด็กหญิงรุ่งรวี โนรี ม.2/3 เลขที่ 35
เด็กหญิงวรางคณา ใจคำ ม.2/3 เลขที่ 36
เด็กหญิงเสาวลักษณ์ สมโนชัย ม.2/3 เลขที่ 41
การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ(IS2)รหัสวิชา IS122202
โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40
กิตติกรรมประกาศ
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวิทยานุกูลนารี
มีวัตถุประสงค์
(1) เพื่อจะตรวจสอบพฤติกรรมของนักเรียนในการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
(2) เพื่อว่าจะทราบว่านักเรียนพบโฆษณาลามกอนาจารบ่อยแค่ไหน
(3) เพื่อจะทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
กลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นสาระที่เน้นการทำงาน กระบวนการทำงานและการจัดการอย่างเป็นระบบ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการออกแบบงาน และการทำงานอย่างมีกลยุทธ์โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนทศและการสื่อสาร ตลอดจนนำเทคโนโลยีจาก๓มิปัญญาพื้นบ้าน ภูมิปัญญาไทย และเทคโนโลยีสากลมาใช้และประยุกต์ใช้ในการทำงาน รวมทั้งการสร้าง พัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวิธีการใหม่ๆ เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
ผู้จัดทำ ขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในในทางลามกอนาจารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวิทยานุกูลนารี จากท่านผู้อำนวยการ นายอธิภัทร พรชัย คุณครูสุพรณ์ นวลเชย ที่ปรึกษาหลัก และคุณครูทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือให้คำแนะนำตลอดจนผู้ที่ให้ความช่วยเหลืออื่นๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามมาใน ณ ที่นี้ จนกระทั่งรายงานฉบับนี้สำเร็จลุร่วงไปได้ด้วยดี
ท้ายที่สุดนี้ พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในในทางลามกอนาจารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวิทยานุกูลนารี จะเป็นประโยชน์ที่เกี่ยงข้อง ทั้งต่อสถาบันฯ รวมทั้งหน่วยงานอื่นๆ ที่มีลักษณ์คล้ายคลึงนี้ผู้จัดทำขอมอบประโยชน์ที่ได้จากการจัดทำรายงานฉบับนี้เป็นเครื่องตอบแทนคุณบุพการี ผู้มีพระคุณ และครูอาจารย์ทุกท่าน
ด.ญ.รุ่งรวี โนรี
ด.ญ.วรางคณา ใจคำ
ด.ญ.เสาวลักษณ์ สมโนชัย
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
ชื่อผู้วิจัย : 1) เด็กหญิงรุ่งรวี โนรี ชั้น ม.2/3 เลขที่ 35
2) เด็กหญิงวรางคณา ใจคำ ชั้น ม.2/3 เลขที่ 36
3) เด็กหญิงเสาวลักษณ์ สมโนชัย ชั้น ม.2/3 เลขที่ 41
ปีพุทธศักราช : 2559
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
(1) เพื่อจะตรวจสอบพฤติกรรมของนักเรียนในการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
(2) เพื่อว่าจะทราบว่านักเรียนพบโฆษณาลามกอนาจารบ่อยแค่ไหน
(3) เพื่อจะทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ตอนต้น โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2559 จำนวน 46 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
(1) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
สรุปผลการวิจัย
(1) การทำรายงานเป็นไปตามความคาดหมาย
(2) มีนักเรียนต้องการให้กำจัดโฆษณาและเว็บไซด์ลามกอนาจารมากที่สุด
(3) ลอกลงมามีนักเรียนพบโฆษณาลามกอนาจารในเว็บไซด์ที่ไม่ควรขึ้นในเว็บไซด์ที่มีสาระ
สารบัญ
บทที่ หน้า
บทที่ 1 บทนำ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 3
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 4-5
บทที่ 5 สรุปผล อภิปบายผลและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาพผนวก
ภาพผนวกประวัติผู้วิจัย
สารบัญตาราง
ตาราง หน้า
ตารางที่ 4.1 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ 4
ตารางที่ 4.2 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอายุ 4 ด้านระดับการศึกษา
ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจของนักเรียน 5
บทที่1
บทนำ
การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
อินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งที่มีประโยชน์และได้รับความนิยมเป็นอย่ามากในสังคมไทยเนื่องจากเป็นสื่อที่สามารถสืบค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆได้ทุกชนิดและยังเป็นสื่อสารที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลกแต่มีพลัดหลงหรือตั้งใจเข้าไปใช้บริการที่ไม่สร้างสรรค์อย่างสื่อลามกบนอินเทอร์เน็ตที่ปัจจุบันมีอยู่หลากหลายรูปแบบโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่มีความต้องการและมีความสนใจเป็นวัยที่เสี่ยงต่อการใช้อินเทอร์เน็ตที่ไม่เหมาะสม อาจพบเจอประสบการณ์หรือถูกล่อลวงให้เกิดทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศในทางที่ไม่ถูกไม่ควรได้ อาจกลายเป็นปัญหาต่อสังคมได้
ยิ่งนับวันอินเทอร์เน็ตก็ยิ่งมีรูปแบบและช่องทางในการติดต่อข่าวสารและการใช้ข้อมูลใหม่โดยเฉพาะเมื่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่มีมากยิ่งขึ้นก็อาจเกิดผลกระทบตามมาซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้และความคิดของเด็กและเยาวชนเพราะเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นและอยากลองสิ่งแปลกๆใหม่ๆอยู่เสมอ วัยรุ่นจึงสามารถรับเอาแบบอย่างที่ตนได้พบเห็นจนอาจทำให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบทางเพศที่ได้รับจากสื่ออินเทอร์เน็ตด้วยวัยและความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
1.) ทำให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
2.) ทำให้เป็นแม่วัยเด็กในสังคมไทย
3.) สังคมไทยที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์แล้วไปทำแท้งก่อนวัยอันควร
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อที่มีบทบาทสำคัญอย่างมากโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชนเป็นสื่อที่มีทั้งผลร้ายและผลดีในสังคมแต่ในขณะเดียวกันสื่ออินเทอร์เน็ตก็ได้แฝงไปด้วยภัยอันตรายที่น่ากลัวหากผู้รับสารอย่างเด็กและเยาวชนขาดวิจารณญาณไม่มีความรู้เท่าทันสื่อก็อาจจะหลงไปกับความสนุกความเพลิดเพลินที่แฝงมาในรูปสื่อลามกบนอินเทอร์เน็ตการป้องกันและการแก้ไขปัญหาของสื่อลามกบนอินเทอร์เน็ตจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกๆฝ่ายคือ ครอบครัว สถาบันการศึกษา หน่วยงานรัฐบาลและสื่อมวลชนเพื่อให้เด็กและเยาวชนใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่เหมาะสมและจะได้เป็นปัญหาต่อสังคมและประเทศชาติ
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ความเป็นมาประโยชน์และโทษของการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
1. ความเป็นมา
2. ประโยชน์
3. โทษ
4. เนื้อหาที่นำมาใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้
1.) ความเป็นมา
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อที่มีประโยชน์และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสังคมไทย เนื่องจากเป็นสื่อที่สามารถสืบค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆได้ทุกชนิดและยังเป็นสื่อที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลกแต่ก็มีพลัดหลงหรือตั้งใจเข้าไปใช้บริการที่ไม่สร้างสรรค์อย่างสื่อลามกบนอินเทอร์เน็ต
2.) ประโยชน์
ไม่มีประโยชน์แถมยังผิด พ.ร.บ. ของคอมพิวเตอร์
3.) โทษ
การเรียนรู้และความคิดของเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็นและอยากลองสิ่งแปลกๆใหม่ๆทำให้เกิดพฤติกรรมเรียนแบบทางเพศที่ได้รับจากสื่ออินเทอร์เน็ตด้วยวัยและความรู้เท่าไม่ถึงการ
1. ทำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
2. ทำให้เป็นแม่วัยเด็กสังคมไทย
3. สังคมไทยมีวัยรุ่นตั้งครรภ์แล้วไปทำแท้งก่อนวัยอันควร
4. เนื้อหาที่นำมาใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์
บทที่ 3
วิธีดำเนินการ
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
ระเบียบวิธีใช้ในการศึกษา
ในการศึกษาใช้รูปแบบการค้นหาทางอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจารและการค้นคว้าจากห้องสมุดและแบบสอบถาม
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
1. ประชากร
ใช้นักเรียนในโรงเรียนวิทยานุกูลนารี ปีการศึกษา 2559 จำนวน 46 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
นักเรียน ชั้น ม.2/3 นักเรียนชั้น ม.ต้น 1 วัน 2 ชั่วโมง
ระยะเวลาการดำเนินงาน
วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2553
วิธีการดำเนินการศึกษา
ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ค้นหาทางอินเทอร์เน็ต
ค้นหาทางอินเทอร์เน็ต เรื่อง การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจารสำรวจข้อมูลต่างๆความเป็นมา ประโยชน์ และโทษ
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย การค้นหาทางอินเทอร์เน็ตและแบบสอบถาม จำนวน 1 ฉบับ สำหรับกลุ่มตัวอย่าง 46 คน ว่าเจอโฆษณาหรือเว็บไซด์ลามก ในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตมากแค่ไหน เรื่อง การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
การวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนทีมีต่อการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร เช่น การยกมือและการแบ่งแยกความคิดเห็น โดยการคิดคะแนนเฉลี่ย เป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตร
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาเรื่อง การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
การวิเคราะห์ข้อมูลของการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปีที่ 2/3 โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ได้ผลดังนี้
ส่วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ 4.1 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ
เพศ
|
จำนวน
|
ร้อยละ
|
ชาย
|
9
|
19.56%
|
หญิง
|
37
|
80.44%
|
รวม
|
46
|
100%
|
จากตารางที่ 4.1 ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชาย จำนวน 9 คน คิดเป็นค่าร้อยละ 19.56% ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง จำนวน 37 คน คิดเป็นค่าร้อยละ 80.43%
ตารางที่ 4.2 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอายุ
อายุ
|
จำนวน
|
ร้อยละ
|
12
|
1
|
2.17%
|
13
|
33
|
71.73%
|
14
|
11
|
23.91%
|
15
|
1
|
2.19%
|
รวม
|
46
|
100%
|
จากตารางที่ 4.2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 13 ปี จำนวน 33 คน คิดเป็นค่าร้อยละ 71.73% รองลงมามีอายุ 14 ปี มีจำนวน 11 คน คิดเป็นค่าร้อยละ 23.91% รองต่อมาอีกมีอายุ 15 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.19% และน้อยที่สุดมีอายุ 12 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.17%
ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจของนักเรียน
ที่
|
รายการที่ประเมิน
|
ระดับความพึงพอใจ
| ||||
มากที่สุด
(5)
|
มาก
(4)
|
ปานกลาง
(3)
|
น้อย
(2)
|
น้อยที่สุด
(1)
| ||
1
|
พบโฆษณาลามกอนาจาร
|
23.91
|
23.91
|
26.08
|
21.73
|
4.37
|
2
|
มีผู้อื่นส่งคลิปหรือรูปลามกอนาจาร
|
6.52
|
19.56
|
19.56
|
21.76
|
32.60
|
3
|
มีผู้ส่งเว็บไซด์ลามกอนาจาร
|
21.73
|
10.89
|
21.73
|
30.43
|
15.22
|
4
|
พบคนแปลกหน้าส่งสนทนาวาจาที่ลามกอนาจาร
|
8.69
|
21.73
|
28.26
|
13.04
|
28.28
|
5
|
คนแปลกหน้าวิดีโอคอลมาโชว์ของลับ
|
17.39
|
8.69
|
17.39
|
17.39
|
39.14
|
6
|
มีผู้ส่งคลิปเสียงที่ลามกอนาจาร
|
10.89
|
15.21
|
13.04
|
34.78
|
26.08
|
7
|
พบเห็นเพื่อนใช้งานเว็บไซด์ลามกอนาจาร
|
13.04
|
13.04
|
34.78
|
15.21
|
23.93
|
8
|
พบโฆษณาลามกอนาจารในเว็บไซด์ที่ไม่ควรขึ้นในเว็บไซด์ที่มีสาระ
|
25.72
|
17.39
|
32.60
|
15.24
|
8.69
|
9
|
คลิปลามากอนาจาร อาจจะเป็นสาเหตุทำให้ที่หมกมุ่นจนไม่สนใจการเรียน
|
23.03
|
40.00
|
15.24
|
2.17
|
19.56
|
10
|
ต้องการให้กำจัดโฆษณาและเว็บไซด์ลามกอนาจาร
|
47.85
|
28.26
|
13.04
|
8.69
|
2.19
|
จากตารางที่ 4.3 ต้องการให้กำจัดโฆษณาและเว็บไซด์ลามกอนาจารอยู่ในระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 47.85% เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่ 8 พบโฆษณาลามกอนาจารในเว็บไซด์ที่ไม่ควรขึ้นในเว็บไซด์ที่มีสาระ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าร้อยละเท่ากับ 25.72 รองลงมา คือ ข้อที่ 1 พบโฆษณาลามกอนาจาร และ ข้อที่ 9 คลิปลามากอนาจาร อาจจะเป็นสาเหตุทำให้ที่หมกมุ่นจนไม่สนใจการเรียน มีค่าร้อยละเท่ากับ 23.03 และน้อยที่สุด คือ ข้อที่ 2 มีผู้อื่นส่งคลิปหรือรูปลามกอนาจาร มีค่าร้อยละเท่ากับ 6.52
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาครั้งนี้เพื่อจะตรวจสอบพฤติกรรมของนักเรียนในการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร เพื่อว่าจะทราบว่านักเรียนพบโฆษณาลามกอนาจารบ่อยแค่ไหน และเพื่อจะทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร โรงเรียนวิทยานุกูลนารีในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ซึ่งสามารถสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะได้ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
2. สมมุตติฐานของการศึกษา
3. ขอบเขตของการศึกษา
4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. สรุปผลการศึกษา
7. ข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพื่อจะตรวจสอบพฤติกรรมของนักเรียนในการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร เพื่อว่าจะทราบว่านักเรียนพบโฆษณาลามกอนาจารบ่อยแค่ไหน และ เพื่อจะทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
สมมุตติฐานของการศึกษา
วัยรุ่นมีความอยากรู้อยากเห็นและอยากลองสิ่งแปลกๆใหม่ๆอยู่เสมอ วัยรุ่นจึงสามารถรับเอาแบบอย่างที่ตนได้พบเห็นจนอาจทำให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบทางเพศที่ได้รับจากสื่ออินเทอร์เน็ตด้วยวัยและความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
1.)อาจจะทำให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
2.)อาจจะทำให้เป็นแม่วัยเด็กในสังคมไทย
3.)อาจจะสังคมไทยที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์แล้วไปทำแท้งก่อนวัยอันควร
ขอบเขตของการศึกษา
1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือนักเรียนโรงเรียนวิทยานุกูลนารี ปีการศึกษา 2559 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2.3 จำนาน 46 คน
2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2.3 นักเรียนชั้นม.ต้น 1วัน 2ชั่วโมง
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยแบบสอบถาม จำนวน1ฉบับ เรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจารโรงเรียนวิทยานุกูลนารี จำนวน 10 ข้อ
การวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนที่มีต่อการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร เช่น การยกมือและการแบ่งแยกความคิดเห็นส่วนบุคคล
โดยการคิดคะแนนเฉลี่ย เป็นค่าร้อยละ
สรุปผลการศึกษา
ผลการศึกษาที่มีต่อการศึกษาเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
อยู่ในระดับคุณภาพข้อที่ 8 พบโฆษณาลามกอนาจารในเว็บไซด์ที่ไม่ควรขึ้นในเว็บไซด์ที่มีสาระ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าร้อยละเท่ากับ 25.72 รองลงมา คือ ข้อที่ 1 พบโฆษณาลามกอนาจาร และ ข้อที่ 9 คลิปลามากอนาจาร อาจจะเป็นสาเหตุทำให้ที่หมกมุ่นจนไม่สนใจการเรียน มีค่าร้อยละเท่ากับ 23.03 ข้อที่ 3 มีผู้ส่งเว็บไซด์ลามกอนาจาร 21.73
การอภิปรายผล
จากการศึกษาการใช้อินเทอร์เน็ตในทางลามกอนาจาร
ของนักเรียนระดับชั้นม. 2.3โรงเรียนวิทยานุกูลนารี
พบว่า นักเรียนทุกคนต้องการให้กำจัดโฆษณาและเว็บไซด์ลามกอนาจาร
อยู่ในระดับ 5 คิดเป็นร้อยละ 47.85
ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้
1. สามารถนำไปศึกษาปัญหาต่างๆที่พบในโรงเรียนได้ แต่ควรมีตัวแปรร่วมด้วย เพื่อให้การศึกษา
มีคุณภาพ
2. สามารถนำไปศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่น
3. ควรมีเวลาศึกษามากขึ้น
ประวัติผู้จัดทำรายงาน
ชื่อ : เด็กหญิงรุ่งรวี โนรี
วันเดือนปีเกิด : วันพุธที่ 1 มกราคม พ.ศ.2546
ประวัติการศึกษา : จบชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านในเมือง)
กำลังศึกษาอยู่ โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ชั้นมัธยมศึกษาที่ 2/3 เลขที่ 35
อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติผู้จัดทำรายงาน
ชื่อ : เด็กหญิงวรางคณา ใจคำ
วันเดือนปีเกิด : วันอาทิตที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2545
ประวัติการศึกษา : จบชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านในเมือง)
กำลังศึกษาอยู่ โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ชั้นมัธยมศึกษาที่ 2/3 เลขที่ 36
อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติผู้จัดทำรายงาน
ชื่อ : เด็กหญิงเสาวลักษณ์ สมโนชัย
วันเดือนปีเกิด : วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ.2545
ประวัติการศึกษา : จบชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านในเมือง)
กำลังศึกษาอยู่ โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ชั้นมัธยมศึกษาที่ 2/3 เลขที่ 41
อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
ขอบคุณค่ะ เป็นวิทยาทานในการเรียนการสอนวิชา IS2
ตอบลบ